ตัวชี้วัด ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 แนวโน้ม
การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access)
๑) สัดส่วนนักเรียนปฐมวัย (๓ - ๕ ปี) ต่อประชากรกลุ่มอายุ ๓ - ๕ ปี เพิ่มขึ้น 114.57
(เป้าหมาย 90)
134.36
(เป้าหมาย 90)
115.96
(เป้าหมาย 90)
72.44
(เป้าหมาย 90)
79.87
(เป้าหมาย 90)
๒) ประชากรอายุ ๖ - ๑๑ ปี ได้เข้าเรียนระดับประถมศึกษาทุกคน 167.38
(เป้าหมาย 100)
162.72
(เป้าหมาย 100)
158.04
(เป้าหมาย 100)
100.55
(เป้าหมาย 100)
102.60
(เป้าหมาย 100)
๓) ประชากรอายุ ๑๒ - ๑๔ ปี ได้เข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่าทุกคน 170.61
(เป้าหมาย 100)
173.52
(เป้าหมาย 100)
155.28
(เป้าหมาย 100)
94.55
(เป้าหมาย 100)
113.94
(เป้าหมาย 100)
๔) สัดส่วนนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า (๑๕ - ๑๗ ปี) ต่อประชากรกลุ่มอายุ ๑๕ - ๑๗ ปี เพิ่มขึ้น 127.30
(เป้าหมาย 80)
131.61
(เป้าหมาย 80)
121.28
(เป้าหมาย 80)
69.31
(เป้าหมาย 80)
102.80
(เป้าหมาย 80)
๕) ประชากรวัยแรงงาน (๑๕ - ๕๙ ปี) มีจำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 8.00
(เป้าหมาย 10.7)
8.07
(เป้าหมาย 10.7)
7.53
(เป้าหมาย 10.7)
8.55
(เป้าหมาย 10.7)
8.56
(เป้าหมาย 10.7)
คุณภาพการศึกษา (Quality)
๒) ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ ๕๐ ขึ้นไป 28.63
(เป้าหมาย 50)
30.44
(เป้าหมาย 50)
21.03
(เป้าหมาย 50)
30.58
(เป้าหมาย 50)
15.68
(เป้าหมาย 50)
๓) ความแตกต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระหว่างพื้นที่/ภาคการศึกษาในวิชาคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษลดลง 3.77
(เป้าหมาย 5)
4.41
(เป้าหมาย 5)
4.68
(เป้าหมาย 5)
4.72
(เป้าหมาย 5)
๖) ร้อยละการอ่านของคนไทย (อายุตั้งแต่ ๖ ปีขึ้นไป) เพิ่มขึ้น 76.12
(เป้าหมาย 85)
72.03
(เป้าหมาย 85)
๑๒) ร้อยละของนักเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่พิเศษที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๕๐ ขึ้นไปเพิ่มขึ้น 14.83
(เป้าหมาย 50)
14.81
(เป้าหมาย 50)
10.96
(เป้าหมาย 50)
15.99
(เป้าหมาย 50)
5.95
(เป้าหมาย 50)
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
๑๒) สัดส่วนผู้เรียนเอกชนสูงขึ้นเมื่อเทียบกับรัฐ 25 : 75
(เป้าหมาย 25:75)
21 : 79
(เป้าหมาย 25:75)
การตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy)
๗) สัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษาสูงขึ้น เมื่อเทียบกับผู้เรียนสามัญศึกษา 23 : 77
(เป้าหมาย 45:55)
23 : 77
(เป้าหมาย 45:55)
33 : 67
(เป้าหมาย 45:55)
27 : 73
(เป้าหมาย 45:55)
๙) ร้อยละของประชากรวัยแรงงาน (๑๕ - ๕๙ ปี) ที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าขึ้นไปเพิ่มขึ้น 45.14
(เป้าหมาย 60)
45.54
(เป้าหมาย 60)
42.96
(เป้าหมาย 60)
52.41
(เป้าหมาย 60)
52.92
(เป้าหมาย 60)